-

Lazada Indonesia

วันพุธที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2556

แนวข้อสอบกฎหมายปฏิรูปการศึกษาชุดที่1-4 400 ข้อพร้อมเฉลย


แนวข้อสอบกฎหมายปฏิรูปการศึกษาชุดที่1-4 400 ข้อพร้อมเฉลย


แนวข้อสอบกฎหมายปฏิรูปการศึกษาชุดที่1-4 400 ข้อพร้อมเฉลย
………………………………………………………………………………………………………..
1. กฎหมายพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ เกิดจากมาตราใดของกฎหมายรัฐธรรมนูญ
ก. มาตรา   43                                      ข.    มาตรา  49
ค.    มาตรา   81                                      ง.    มาตรา  80
2. มาตรา  49  ของกฎหมายรัฐธรรมนูญข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้อย่างทั่วถึง
ข. รัฐต้องจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
ค. ผู้พิการ  ผู้ยากไร้  ผู้ที่อยู่ในสภาวะยากลำบาก มีสิทธิได้รับการศึกษาไม่น้อยกว่า  12  ปี
ง. เพื่อให้ผู้พิการได้รับการศึกษาทัดเทียมกับบุคคลทั่วไป
3. มาตรา  80  แห่งกฎหมายรัฐธรรมนูญให้ความสำคัญเรื่องใดเป็นอันดับแรก
ก. แผนการศึกษาแห่งชาติ                                 ข.   กฎหมายพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ
ค.    เร่งรัดพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี     ง.    พัฒนาวิชาชีพครู
4. ใครต่อไปนี้ที่ไม่ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครู
ก. ครู                                                                               ข.   คณาจารย์
ค.   ผู้บริหารการการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา           ง.   บุคลากรทางการศึกษา
5. ข้อใดไม่ใช่หลักการจัดการศึกษาตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
ก. เป็นการศึกษาตลอดชีวิต                                                    
ข. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ค. พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
ง. มีเอกภาพด้านนโยบาย มีความหลากหลายในการปฏิบัติ
6. ข้อใดไม่ใช่หลักการจัดระบบ  โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา
ก. การกระจายอำนาจ                                             ข.   มาตรฐานและการประกันคุณภาพ
ค.   การศึกษาตลอดชีวิต                                            ง.   มาตรฐานและการพัฒนาวิชาชีพครู
7. การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกาย จิตใจ กล่าวไว้ในหมวดใด  ของ
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ
ก. ความมุ่งหมายและหลักการ                    ข.   สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
ค.   ระบบการศึกษา                                       ง.    แนวการจัดการศึกษา
8. การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการข้อใดที่ไม่ถูกต้อง
ก. ให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการ
ข. มีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่น2
ค. โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
ง. อายุย่างเข้าปีที่เจ็ด จนถึงย่างเข้าปีที่สิบหก
9. การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลที่มีความสามารถพิเศษ ข้อใดถูกต้อง
ก. จัดด้วยรูปแบบที่เหมาะสม                           ข.   คำนึงถึงความสามารถ
ค.    คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล          ง.    ถูกข้อ ก  และ  
10. สิทธิประโยชน์ที่ผู้จัดการศึกษาจะพึงได้รับ ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. การสนับสนุนจากรัฐ                             
ข.   เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค.  การลดหย่อนภาษีทั่วไป        
ง.   การยกเว้นภาษีสำหรับค่าใช้จ่ายการศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด
11. การศึกษาในระบบมีกี่ระดับ ข้อใดถูกที่สุด
ก.    2   ระดับคือ การศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข.    2   ระดับคือ การศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาอุดมศึกษา
ค.    3   ระดับคือ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา
ง.    4   ระดับคือ ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาและอุดมศึกษา
12. การจัดการศึกษาภาคบังคับให้บุคคลตามข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. จัดให้เด็กที่มีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด จนถึงอายุย่างเข้าปีที่สิบหก   ข.   จัดการศึกษาภาคบังคับ
เป็นเวลา  9  ปี
ค.   สอบได้ชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 9  แล้ว                      ง.   อายุพ้นเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ
13. ข้อใดไม่ใช่สถานศึกษาในการจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานตาม พรบ.
การศึกษาแห่งชาติ
ก. สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย                                                                ข.   โรงเรียน
ค.   ศูนย์การเรียน                                                                                 ง.    วิทยาลัย
14. การจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพอยู่ใน
มาตราใดของ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
ก. มาตรา  22                                                       ข.   มาตรา  23
ค.   มาตรา  24                                                        ง.   มาตรา  25
15. การจัดการศึกษาเฉพาะทาง  คำนึงถึงข้อใด
ก.   นโยบาย                                                               ข.   มาตรฐานการศึกษาของชาติ
ค.   การประกันคุณภาพ                                             ง.   ข้อ    และ  3
16. การจัดสรรโอกาสการเข้าศึกษาต่อของผู้เรียนในเบื้องต้นเป็นหน้าที่ของใคร
ก. ผู้ปกครอง                                                                       ข.     สถานศึกษา
ค.   คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา                                    ง.  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
17. การประเมินผู้เรียนให้พิจารณาจากข้อใด
ก.   ความประพฤติ   การสังเกตพฤติกรรม   การร่วมกิจกรรม  การทดสอบ  พัฒนาการ
ข.   การสังเกตพฤติกรรม   การร่วมกิจกรรม  การทดสอบ  พัฒนาการ   ความประพฤติ  
ค.   การสังเกตพฤติกรรม  ความประพฤติ   การร่วมกิจกรรม  การทดสอบ  พัฒนาการ
ง.   พัฒนาการ   ความประพฤติ   การสังเกตพฤติกรรม   การร่วมกิจกรรม  การทดสอบ  
18. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของหลักสูตรแกนกลาง
ก.   ความเป็นไทยและความเป็นพลเมืองดีของชาติ
ข.   การดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพ
ค.   เพื่อการศึกษาต่อ
ง.   เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ
19. จุดมุ่งหมายของสาระหลักสูตรทั้งที่เป็นวิชาการ และวิชาชีพต้องมุ่งพัฒนาคนให้มีความสมดุล
ทุกด้านยกเว้นข้อใด
ก.   ความรู้  ความคิด                            ข.   ความเป็นพลเมืองดี
ค.   ความสามารถ                                 ง.   ความดีงามและความรับผิดชอบต่อสังคม
20. ใครมีหน้าที่ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน
ก.   สถานศึกษา                                                  ข.   ครอบครัวและชุมชน
ค.   องค์กรชุมชน องค์กรและสถาบัน                ง.   สถานศึกษาร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องทุกข้อ
21. การกำหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551   เป็นหน้าที่ของใคร
ก. กรมวิชาการ                                                         ข.   สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
   ค.    คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน                     ง.    คณะกรรมการสภาการศึกษาศึกษา
22. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการ
ก. ส่งเสริมและกำกับดูแลการศึกษาทุกระดับทุกประเภท
ข. กำหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา
ค. สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
ง. ประสานงานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและการกีฬา
23. ข้อใดไม่ใช่สี่องค์กรหลักในกระทรวง
ก. คณะกรรมการการอุดมศึกษา                                     ข.   สภาการศึกษาแห่งชาติ
ค.   คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน                           ง.    คณะกรรมการการอาชีวศึกษา4
24. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของสภาการศึกษา
ก. พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติ                     
ข.   สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ค.    ดำเนินการประเมินผลการจัดการศึกษา            
ง.  ให้ความเห็นหรือคำแนะนำเกี่ยวกับกฎหมายและกฎกระทรวง
25. คณะกรรมการชุดใดต่อไปนี้ที่มีรัฐมนตรีเป็นประธาน
ก. สภาการศึกษา                                        ข.   คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค.   คณะกรรมการการอุดมศึกษา                 ง.   คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
26. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. พิจารณาเสนอหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษาแห่งชาติ
ค. เสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ง. ติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
27. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. ผู้แทนองค์กรชุมชน                                         ข.   ผู้แทนองค์กรเอกชน
ค.   ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น                  ง.   ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ
28. การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษา ข้อใดไม่ต้องคำนึงถึง
ก. ปริมาณสถานศึกษา                                            ข.  จำนวนนักเรียน
ค.   วัฒนธรรม                                                           ง.   ความเหมาะสมด้านอื่น
29. กรณีที่เขตพื้นที่การศึกษาไม่อาจจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานได้  ใครอาจจัดเพื่อเสริมการบริหาร
จัดการของเขตพื้นที่การศึกษา
ก.   รัฐมนตรี                                                              ข.   กระทรวง
ค.   สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน    ง.   สำนักงาน



30. การกำหนดนโยบายและแผนจัดการศึกษาของเขตพื้นที่ให้คำนึงถึงผลกระทบต่อการจัดการศึกษาของเอกชน  ใครมีหน้าที่รับฟังความคิดเห็นของเอกชนและประชาชนประกอบการพิจารณา
ก.   รัฐมนตรี  คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข.   สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา  และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ค.   กระทรวง และสำนักงานคณะกรรมการ
ง.   สำนัก หรือ สำนักบริหารงาน  
31. ใครมีอำนาจกำหนดเขตพื้นที่การศึกษา 5
ก. คณะรัฐมนตรี                                                      ข.   รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ค.   ปลัดกระทรวง                                                      ง.    รัฐสภา
32. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ก. กำกับ ดูแลจัดตั้ง ยุบรวมหรือเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. ประสานส่งเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาเอกชน
ค. ประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ง. ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
33. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ก. ผู้แทนองค์กรชุมชน                                        ข.    ผู้แทนองค์กรเอกชน
ค.    ผู้แทนผู้ประกอบวิชาชีพครู                            ง.    ผู้ทรงคุณวุฒิ
34. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีองค์ประกอบในข้อใดที่เหมือนกับคณะกรรมการชุดอื่น
ก. ผู้แทนองค์กรเอชน                                            ข.   ผู้แทนศิษย์เก่า
ค.   ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์                                           ง.   ผู้ทรงคุณวุฒิ
35. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีอำนาจหน้าที่ตามข้อใด
ก.   กำหนดนโยบายและแผนพัฒนา            ข.   กำกับส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษา
ค.   ประสานส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาเอกชน        ง.    สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
36. ข้อใดเป็นหัวใจสำคัญของระบบการประกันคุณภาพภายใน
ก. ดำเนินการโดยหน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษา
ข. เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา
ค. มีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผย
ต่อสาธารณชน
ง. เพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา
37. ข้อใดไม่ได้กำหนดไว้ในระบบการประกันคุณภาพภายนอก
ก. ประเมินผลและติดตามตรวจสอบโดย สมศ.
ข. คำนึงถึงความมุ่งหมาย หลักการและแนวการจัดการศึกษา
ค. ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อย 1 ครั้งในทุก 5 ปีนับ
แต่การประเมินครั้งสุดท้าย
ง. เสนอยุบเลิกโรงเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน
38. กรณีที่ผลการประเมินไม่ได้ตามมาตรฐานที่กำหนด สมศ.ต้องดำเนินการอย่างไรเป็นอันดับแรก
ก. รายงานต่อคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. จัดทำข้อเสนอแนะการปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงานต้นสังกัด
ค. แจ้งให้สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขภายในกำหนด6
ง. เสนอหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน
39. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการ
ก. ส่งเสริมให้มีระบบกระบวนการผลิต การพัฒนาครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
ข. กำกับและประสานให้สถาบันที่ทำหน้าที่ผลิตและพัฒนาให้มีความพร้อมและมีความ
เข้มแข็ง
ค. จัดสรรและจัดตั้งกองทุนพัฒนาครูอย่างเพียงพอ
ง. กำหนดมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
40. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ขององค์กรวิชาชีพครู
ก. กำหนดมาตรฐาน จรรยาบรรณของวิชาชีพ                ข.   พัฒนาวิชาชีพ
ค.   ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ             ง.  ผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

41. บุคคลในข้อใดต่อไปนี้ไม่ต้องมีใบประกอบวิชาชีพ
ก. ครู                                                                         ข.   ผู้บริหารสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
ค.   บุคลากรทางการศึกษาอื่น                                      ง.   ผู้บริหารระดับเขตพื้นที่การศึกษา
42. อสังหาริมทรัพย์ที่สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคลได้มาโดยมีผู้อุทิศให้โดยการซื้อหรือการ
แลกเปลี่ยนจากรายได้ของสถานศึกษา เป็นสมบัติของใคร
ก. ที่ราชพัสดุ                                                                 ข.   กรรมสิทธิ์ของสถานศึกษา
ค.   กระทรวงการคลัง                                                       ง.   สมบัติของแผ่นดิน
43. ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในข้อใดเป็นอันดับแรก
ก.   เป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคลแก่ผู้เรียนการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
       ข.   กองทุนกู้ยืมเรียนให้แก่ผู้ที่มาจากครอบครัวที่มีรายได้น้อย
       ค.   สำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ
       ง.    ค่าใช้จ่ายดำเนินการและงบลงทุน
44. รัฐต้องดำเนินการตามข้อใดเป็นอันดับแรก
ก.   จัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำ และโครงสร้างพื้นฐานอื่นที่จำเป็น
       ข.   สนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาโดยเปิดให้มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม
       ค.   พัฒนาบุคลากรทั้งผู้ผลิตและผู้ใช้
       ง.    ตั้งกองทุน ICT
45. ตำแหน่งใดไม่เทียบเท่า ผอ.สถานศึกษา
ก.  รอง ผอ.สถานศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี   ข.  เป็นรอง ผอ.สพท.ชำนาญการ
       ค.  ดำรงตำแหน่ง อ.2  ระดับ 7 ง.  เป็นครูชำนาญการ
46.  โทษทางวินัยมีกี่สถาน7
ก.     4  สถาน ข.     5  สถาน   ค.     6  สถาน ง.     7  สถาน
47.  หมวด  6  ว่าด้วยเรื่องใด
ก.  วินัยและการรักษาวินัย    ข.   อำนาจการลงโทษทางวินัย
ค.  การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ ง.   การเสริมสร้างประสิทธิภาพ
48.  ผู้บริหารโรงเรียนมีอำนาจลงโทษตาม ข้อใด
ก.   ภาคทัณฑ์                                               ข.    ตัดเงินเดือน
ค.   ลดขั้นเงินเดือน                                               ง.    ข้อ    และ    ถูก


49.  การร้องทุกข์เป็นไปตามข้อใด
ก.   ไม่ได้รับความเป็นธรรมจาก ผู้บังคับบัญชา   ข.  ผู้บังคับบัญชาไม่ปฏิบัติต่อตนให้ถูกต้องตามกฎหมาย
ค.   ให้ดำเนินการภายใน  30  วัน                          ง.  ถูกทุกข้อ
50.  โทษทางวินัยข้อใดถือว่าเป็นโทษร้ายแรง
ก.   ตัดเงินเดือน  ลดขั้นเงินเดือน  ข.   ลดขั้นเงินเดือน  ไล่ออก
ค.   ตัดเงินเดือน  ไล่ออก                       ง.  ปลดออก  ไล่ออก                     
51.  การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มเป็นไปตามข้อใด
ก.  2  ปี นับแต่มีคำสั่งแต่งตั้ง    ข.  2   ปี นับแต่เข้าปฏิบัติหน้าที่
ค.  1  ปีนับแต่มีคำสั่งแต่งตั้ง ง.  6  เดือนนับแต่เข้าปฏิบัติหน้าที่
52.  ข้อใดไม่ใช่โทษทางวินัย
ก.  ตัดเงินเดือน ข.  ลดขั้นเงินเดือน
ค.  ให้ออก ง.   ปลดออก
53. กรณีถูกลงโทษทางวินัยมีสิทธิตามข้อใด
ก.  อุทธรณ์     ข.  ร้องทุกข์   ค.  ฟ้องศาลปกครอง     ง.  ถูกทุกข้อ
54. กรณีไม่มีความรู้ความสามารถ ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ราชการต่อไปได้จะต้องดำเนินการอย่างไร
ก. ครบ  2  ปีแล้วสั่งให้ออกจากราชการ              ข.  ไม่ต้องรอให้ครบ 2 ปีแล้วสั่งให้ออกจากราชการ                                                                                      ค.   ครบ  1  ปีแล้วสั่งให้ออกจากราชการ               ง. ไม่ต้องรอให้ครบ  1  ปีแล้วสั่งให้ออกจากราชการ
                                                                                   


55.  ใครไม่ได้เป็น ก.ค.ศ.โดยตำแหน่ง
        ก.   เลขาธิการสภาการศึกษา               ข.   เลขาธิการ กพฐ.
        ค.    เลขาธิการคุรุสภา               ง.   เลขาธิการ กพ.
56.   ใครเป็นประธาน อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษาได้8
       ก.   ผู้ทรงคุณวุฒิ           ข.   ผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษา
       ค.   ผู้แทนคุรุสภา       ง.   ผู้แทน ก.คศ.
57. ใครมีหน้าที่เสนอแนะการจัดสรรงบประมาณอุดหนุนจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ก. คณะรัฐมนตรี                                                       ข.   รัฐมนตรี
ค.   กระทรวงศึกษาธิการ                                             ง.   สภาการศึกษา
58. ในกรณีที่เขตพื้นที่การศึกษาไม่สามารถบริหารและจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานบางประเภทได้ 
หน่วยงานใดสามารถจัดเพื่อเสริมการบริหารและการจัดการศึกษาของเขตพื้นที่ได้
ก. สพฐ.                                                        ข.   สำนักงานปลัดกระทรวงหรือสำนักงานต่างๆ
ค.    สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา   ง.    สำนักงานคณะกรรมอาชีวศึกษา
59. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของปลัดกระทรวงศึกษาธิการหรือเลขาธิการ
ก. รับผิดชอบกำกับติดตามราชการประจำในกระทรวง
ข. แปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนปฏิบัติราชการ
ค. กำกับการท างานของส่วนราชการในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์
ง. เร่งรัดติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวงให้เป็นไป
ตามแผนของกระทรวง
60. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของสำนักงานปลัดกระทรวง
ก. ดำเนินการเกี่ยวกับราชการประจำของกระทรวง              
ข.   ประสานงานต่างๆในกระทรวง
ค.   จัดทำงบประมาณและแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง
ง.    ดำเนินการเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติที่มิได้อยู่ในอำนาจของส่วนราชการ
61. ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือในสถานศึกษาที่อยู่ใน
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ก. รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ                            ข.   เลขาธิการ สพฐ.
ค.    ปลัดกระทรวง                                                    ง.   ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
62. อำนาจหน้าที่ของเลขาธิการ  ข้อใดถูกต้อง
ก. เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสำนักงานรองจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ข. รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของข้าราชการในสำนักงาน
ค. จัดทำแผนพัฒนาของหน่วยงาน
ง. ถูกทุกข้อ9
63. หมวดที่   2  ของพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวข้องกับเรื่องใด
ก. การจัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง
ข. การจัดระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
ค. การจัดระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล
ง. การปฏิบัติราชการแทนและการรักษาการแทน


64. การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษา  ยกเว้นการศึกษาตามข้อใด
ก. การศึกษานอกระบบ                                                       ข.   การศึกษาตามอัธยาศัย
ค.   การศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยอาชีวศึกษา      ง.    การศึกษาตลอดชีวิต
65. อำนาจหน้าที่ของสำนักเขตพื้นที่การศึกษา  ข้อใดสำคัญที่สุด
ก. พัฒนาสาระของหลักสูตรการศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน
ข. พัฒนางานด้านวิชาการและจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในร่วมกับการศึกษา
ค. การพิจารณาแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ง. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด
66. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของสถานศึกษาหรือผู้อำนวยการสถานศึกษา
ก. การบริหารการของสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย  นโยบายและวัตถุประสงค์ของ
สถานศึกษา
ข. ควบคุมดูแลบุคลากรการเงิน  พัสดุ  สถานที่และทรัพย์สินอื่นของสถานศึกษา
ค. การท านิติกรรมสัญญาตามวงเงินงบประมาณที่สถานศึกษาได้รับ
ง. อนุมัติประกาศนียบัตรของสถานศึกษาตามระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
67. การจัดการศึกษาในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคลข้อใดไม่ใช่
อำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรี 
ก. เสนอแนะการจัดสรรงบประมาณต่อคณะรัฐมนตรี
ข. ประสานการจัดการศึกษาระหว่างสถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญา
ที่เป็นนิติบุคคลของรัฐ   สถานศึกษาในกำกับสถานศึกษาเอกชนและสถานศึกษาระดับปริญญา

ค. เสนอแนะการจัดตั้ง ยุบรวมปรับปรุงและเลิกสถานศึกษา
ง. วางระเบียบการปฏิบัติราชการเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจการต่างๆ10
68. ให้มีการกระจายอำนาจและมอบอำนาจให้ ผอ.สพท.และ ผอ.สถานศึกษาภายใต้หลักการ
บริหารงานการศึกษา  ยกเว้นข้อใด
ก. การให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับงบประมาณและการดำเนินการทางงบประมาณ
ข. การท านิติกรรมสัญญาในวงเงินงบประมาณที่ได้รับอนุมัติแล้ว
ค. การบรรจุแต่งตั้งและการเลื่อนตำแหน่ง
ง. หลักเกณฑ์การพิจารณาความดีความชอบ  การพัฒนาและการดำเนินการทางวินัย
69.  การเสนอนโยบายแผนและมาตรฐานการศึกษาของชาติที่บูรณาการศาสนา  ศิลปวัฒนธรรม
และการกีฬากับการศึกษาทุกระดับ  เป็นภารกิจขององค์กรใด
ก. สำนักงานปลัดกระทรวง                                        ข.   สำนักงานเลขาธิการสภาศึกษา
ค.    สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน       ง.   สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
70.  การจัดการส่งเสริมการศึกษาขั้นพื้นฐาน  เป็นภารกิจขององค์กรใด
ก. สำนักงานปลัดกระทรวง                                       ข.   สำนักงานเลขาธิการสภาศึกษา
ค.   สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน         ง.   สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
71.  การดำเนินการเกี่ยวกับกฎหมายการศึกษาแห่งชาติ  เป็นภารกิจขององค์กรใด
ก. สำนักงานปลัดกระทรวง                                         ข.   สำนักงานเลขาธิการสถานศึกษา
ค.   สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน         ง.    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
72.ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
ก. พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติ
ข. ประสานการจัดทำข้อเสนอนโยบายแผนและมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ
ค. ดำเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ
ง. ดำเนินการเกี่ยวกับการให้ความเห็นหรือคำแนะนำในเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวกับการศึกษา
73.ข้อไม่ใช่ส่วนราชการในสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
ก. สำนักประเมินผลการจัดการศึกษา                          ข.   สำนักพัฒนากฎหมายการศึกษา
ค.    สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา                    ง.   สำนักวิจัยและพัฒนาการศึกษา
74.ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. พิจารณาเสนอนโยบาย  แผนพัฒนาการศึกษา  มาตรฐานการจัดการศึกษาและหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. ติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของแต่ละพื้นที่การศึกษา
ค. ประสานส่งเสริมสนับสนุนและกำกับดูแลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานการศึกษาเพื่อคน
พิการ  ผู้ด้อยโอกาสและผู้มีความสามารถพิเศษ
ง. ประสานส่งเสริมการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของเอกชน  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 
บุคคล  ครอบครัวและสถาบันทางสังคมอื่น11
75. ข้อใดไม่ใช่ส่วนราชการใน สพฐ.
ก. สำนักติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน  ข.   สำนักงานส่งเสริมการศึกษาเอกชน
ค.    สำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน            ง.   สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา


76.   ข้อใดไม่ใช่การรักษาวินัย
ก. ต้องปฏิบัติตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ
ข. ต้องตรงต่อเวลา  อุทิศเวลาของตนให้แก่ทางราชการและผู้เรียน
ค. ต้อนรับให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรมแก่ผู้เรียนและประชาชนผู้มาติดต่อราชการ
ง. กลั่นแกล้งกล่าวหาหรือร้องเรียนผู้อื่นโดยปราศจากความจริง
77.   ข้อใดไม่ใช่ความผิดทางวินัยอย่างร้ายแรง
ก.   การให้ทรัพย์สิน เพื่อให้ตนเองได้รับการแต่งตั้งโดยมิชอบหรือเสื่อมเสียความเที่ยง             ธรรม
ข.  เป็นกรรมการผู้จัดการหรือผู้จัดการในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท
ค.  เล่นการพนันเป็นอาจิณหรือกระทำการล่วงละเมิดทางเพศต่อผู้เรียนหรือนักศึกษา
ง.   ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเกินกว่า 15 วัน โดยไม่มีเหตุผลอันควร
78.  โทษทางวินัยได้แก่ข้อใด
ก.  ว่ากล่าวตักเตือน ข.  พักใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ค.  ยกข้อกล่าวหา ง.  ภาคทัณฑ์
79.  ข้อใดไม่ใช่โทษทางวินัย
ก.  ลดขั้นเงินเดือน ข.  ให้ออก
ค.  ปลดออก ง.  ไล่ออก
80. กรณีใดมีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญเสมือนว่าลาออกจากราชการ
ก.  ลดขั้นเงินเดือน ข.  ให้ออก
ค.  ปลดออก ง.  ไล่ออก
81.  ในการดำเนินการทางวินัย ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ความเห็นขัดแย้งกันในการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนในเขตพื้นที่การศึกษา
เดียวกัน ให้ ผอ.สพท.เป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด
ข.   ความเห็นขัดแย้งระหว่างผู้มีอำนาจต่างเขตพื้นที่ ให้  เลขาธิการ  กพฐ.เป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด
  ค.   ความเห็นขัดแย้งต่างส่วนราชการ  ให้  รมต. วินิจฉัยชี้ขาด
ง.   กรณีความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง  ให้ตั้งคณะกรรมการสอบสวนโดยไม่ชักช้า12
82. ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ไล่ออก ถ้ามีเหตุผลอันควรลดหย่อนผ่อนโทษ ห้ามมิให้ลดโทษตำกว่าปลดออก
ข. การลงโทษภาคทัณฑ์ให้ใช้เฉพาะกรณีกระทำผิดวินัยเล็กน้อยหรือมีเหตุอันควร   ลดหย่อน
ค.  กระทำความผิดเล็กน้อยและมีเหตุอันควรงดโทษ  จะงดโทษให้โดยท าทัณฑ์บนเป็น
      หนังสือ
ง.  ท าผิดวินัยไม่ร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชาสั่งลงโทษ  ให้ออก หรือปลดออก
83.  ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนหรือผู้มีอำนาจเห็นว่าข้าราชการครูและบุคลากร รายใด
         กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง  สมควรลงโทษปลดออก  หรือไล่ออก  ข้อใดถูก
ก. ผอ.สพท./รอง ผอ.สพท. ขึ้นไป ให้เสนอ  กคศ. พิจารณา
ข. ผอ.สถานศึกษาหรือครูมีวิทยฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ ให้เสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่พิจารณา
ค. ผู้ใดถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ได้ออกจากราชการไปแล้ว  ให้ผู้มีอำนาจสั่งยุติเรื่อง
ง.   ครูผู้ช่วย ท าผิดวินัยในระหว่างเตรียมความพร้อม ไม่ต้องตั้งกรรมการสอบสวน



84.   เมื่อผู้บังคับบัญชาได้ดำเนินการทางวินัย  การดำเนินการตามข้อใดถูกต้อง
ก. การรายงานการดำเนินการทางวินัยไม่ร้ายแรงของผู้บังคับบัญชาตั้งแต่ผอ.สพท.ลงมา 
ให้รายงานไปยัง  ผอ.สพท.
ข. การรายงานการดำเนินการวินัยอย่างร้ายแรงของผู้บังคับบัญชา ตั้งแต่ ผอ.สพท. ลงมา 
ให้รายงานไป  ผอ.สพท. และ กคศ.
ค. การดำเนินการทางวินัยของผู้บังคับบัญชาเหนือ ผอ.สพท. ขึ้นไป ให้รายงาน  กคศ.
พิจารณา
ง. ถูกทุกข้อ
85. ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ผู้ใดถูกสั่งลงโทษภาคทัณฑ์  ตัดเงินเดือน ลดขั้นเงินเดือน  ให้มีสิทธิอุธรณ์ต่อ กคศ.
ภายใน  30  วัน
ข. ผู้ใดถูกสั่งลงโทษปลดออก ไล่ออก หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการ ให้มีสิทธิอุธรณ์หรือ
ร้องทุกข์ต่อ  ก.ค.ศ. ภายใน  30  วัน  และให้ ก.ค.ศ. พิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน  90  วัน
ค. ผู้ใดเห็นว่าตนไม่ได้รับความเป็นธรรม ให้มีสิทธิอุธรณ์ต่อ อ.ก.ค.ศ. ภายใน  30  วัน
ง.  กรณีที่มิได้บัญญัติให้มีสิทธิอุธรณ์หรือร้องทุกข์ได้  ย่อมมีสิทธิฟ้องร้องคดีต่อศาล13  ปกครอง
86.  พ.ร.บ. เงินเดือน  เงินวิทยฐานะและเงินประจำตำแหน่ง ประกาศใช้บังคับเมื่อใด
ก.  19  ธ.ค.  47 ข.  20  ธ.ค.  47
ค.  23  ธ.ค.  47 ง.  24  ธ.ค.  47


87.   เกี่ยวกับ พรบ.เงินเดือน เงินวิทยฐานะ  ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ตำแหน่งที่ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ให้นำบัญชีอัตราเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง ของข้าราชการพลเรือนมาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข. ค.ร.ม. พิจารณาปรับปรุงเงินเดือน เงินวิทยฐานะ  เงินประจำตำแหน่ง เงินเพิ่มค่าครอง
ชีพสวัสดิการหรือประโยชน์เกื้อกูล
ค. การปรับอัตราเพิ่มร้อยละเท่ากันทุกอัตรา   ให้กระทำโดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
ง.   รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตาม พรบ.
88. พ.ร.บ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา  พ.ศ.  2546  ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ให้ไว้    วันที่  24  พฤษภาคม  พ.ศ.  2546
ข. ประกาศใช้บังคับ  12  มิถุนายน  พ.ศ.  2546
ค. ข้อบังคับของคุรุสภา ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี
ง. ร่างข้อบังคับ   ถ้า รมต. ยับยั้งให้คณะกรรมการคุรุสภาประชุมอีกครั้งหนึ่งภายใน 30 วัน

89. คณะกรรมการคุรุสภา    ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ   ประธานกรรมการ
ข. กรรมการโดยตำแหน่งจำนวน  8  คน
ค. กรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งจากผู้ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะคุรุศาสตร์4  คน
ง.   กรรมการจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา  19  คน


90. ใครไม่ได้เป็นกรรมการกรรมการคุรุสภาโดยตำแหน่ง
ก.   เลขาธิการสภาการศึกษา                          ข.   เลขาธิการ  กคศ.
ค.   ผอ.สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน       ง.   ผอ.สมศ.
91. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติทั่วไปของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ก.  มีสัญชาติไทย                    ข.  มีอายุไม่ต่ำกว่า    35     ปีบริบูรณ์
ค.  มีความซื่อสัตย์และยุติธรรมเป็นที่ประจักษ์    ง.  มีวุฒิการศึกษาไม่ต่ำกว่า    ปริญญาตรี
92. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะต้องห้ามของผู้ทรงคุณวุฒิ
ก. เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง14
ข. เป็นเจ้าหน้าที่/ลูกจ้าง/ผู้เชี่ยวชาญซึ่งมีสัญญาจ้างกับคุรุสภาหรือ สก.สค.
ค. เคยมีประวัติเสื่อมเสียทางจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ
ง. ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
93. อำนาจหน้าที่ของกรรมการคุรุสภา  ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. บริหารและดำเนินการตามวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ของคุรุสภา
ข. ให้คำปรึกษาแนะนำแก่คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ค. พิจารณา วินิจฉัย อุธรณ์ คำสั่งของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ง. พักใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
94. ข้อกำหนดเกี่ยวกับคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ  ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ประธานกรรมการ  ครม. แต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคุรุสภา
ข. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ  4  คน
ค. เลขาธิการ  กคศ.เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง
ง. กรรมการจากคณาจารย์เลือกกันเอง  2  คน
95.    อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ  ข้อใดสำคัญที่สุด
ก. พิจารณาการออก  การพักใช้ หรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ข. กำกับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ
ค. ส่งเสริม  พัฒนา  และเสนอแนะคณะกรรมการคุรุสภา
ง. ส่งเสริม  ยกย่อง  และพัฒนาวิชาชีพไปสู่ความเป็นเลิศในสาขาต่างๆ
96. กรรมการคุรุสภา สามารถดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ และกรรมการส่งเสริม
        สวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ในองค์ประกอบใดได้
ก. เป็นประธานกรรมการและเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง
ข. เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ค. กรรมการจากคณาจารย์ในคณะครุศาสตร์และศึกษาศาสตร์ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
และเอกชน
ง. กรรมการจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาซึ่งเลือกตั้งจากผู้ประกอบวิชาชีพ
97. ใครสามารถประกอบวิชาชีพควบคุมได้
ก.  ผู้ท าการฝึกหัดหรืออบรมในความควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ค. ผู้ที่ท าหน้าที่สอนในศูนย์การเรียน
ง. ผู้บริหารสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาทั้งของรัฐและเอกชน
จ. ผู้บริหารการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา


98. คุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพควบคุม ข้อใดไม่ถูกต้อง15
ก.  มีสัญชาติไทย
  ข.  มีอายุไม่ต่ำกว่า      20  ปีบริบูรณ์
ค.  มีคุณวุฒิปริญญาทางการศึกษาหรือเทียบเท่าคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง
   ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษาไม่น้อยกว่า      หนึ่งปี
99. ลักษณะต้องห้ามของผู้ขอรับใบอนุญาต  ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือบกพร่องในศีลธรรมอันดี
ข. เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
ค. เคยต้องโทษจ าคุกในคดีที่คุรุสภาเห็นว่าอาจน ามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
ง. เป็นบุคคลล้มละลาย ซึ่งศาลยังไม่สั่งให้พ้นคดี
100. ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. การขอรับใบอนุญาต การออก การต่อ การขอรับใบแทนใบอนุญาต เป็นต้น ให้เป็นไป
ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในข้อบังคับของคุรุสภา
ข. ผู้ขอรับ ผู้ขอต่อ/ผู้ขอรับใบแทนใบอนุญาต ซึ่งคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
พิจารณาวินิจฉัยไม่ อนุญาต อาจอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการคุรุสภาภายใน  30  วัน
ค. ห้ามมิให้ผู้ใดประกอบวิชาชีพควบคุม   โดยไม่ได้รับอนุญาตจากคุรุสภา   ฝ่าฝืนปรับ
ไม่เกิน 20,000   บาท
ง. สถานศึกษารับผู้ไม่ได้รับใบอนุญาตเข้าประกอบวิชาชีพควบคุมในสถานศึกษา จ าคุก
ไม่เกิน  1  ปี16

เฉลย  ข้อสอบกฎหมายปฏิรูปการศึกษา  ชุดที่  1
1.           2.      3.       4.           5.           6.  ค 7.            8.           9.            10.  
11.        12.       13.        14.         15.         16. ข 17.          18.          19.            20.  
21.        22.      23.       24.        25.         26. ค 27.          28.        29.           30.  
31.       32.         33.     34.       35.         36.    37.         38.         39.            40.  
41.        42.        43.     44.       45.         46.          47.          48.         49.              50.  
51.        52.        53.      54.      55.         56.          57.          58.         59.             60. 
61.        62.         63.       64.      65.          66.           67.         68.        69.            70.  
 71.        72.       73.         74.       75.        76.            77.        78.         79.             80. 
  81.        82.        83.       84.         85.       86.     87.       88.          89.             90. 
  91.         92.       93.         94.        95.        96.     97.      98.        99.           100.  ง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น