-

Lazada Indonesia

วันพุธที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2556

ข้อสอบกฎหมาย ชุดที่ 1 พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 ฉ2 2545


ข้อสอบกฎหมาย ชุดที่ 1 พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 ฉ2 2545


ข้อสอบกฎหมาย ชุดที่ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 2 2545
ชุดที่ 1
1) 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 เกิดจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตราใด

A.
80

B.
81

C.
82

D.
83

2) 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ประกาศใช้เมื่อใด

A.
19 สิงหาคม 2542

B.
20 สิงหาคม 2542

C.
21 สิงหาคม 2542

D.
22 สิงหาคม 2542

3) 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ฉ.พ.ศ.2545 บังคับใช้เมื่อใด

A.
19 ธันวาคม 2545

B.
20 ธันวาคม 2545

C.
21 ธันวาคม 2545

D.
22 ธันวาคม 2545

4) 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มีทั้งหมดกี่หมวดกี่มาตร

A.
หมวด 78 มาตรา

B.
หมวด 87 มาตรา

C.
หมวด 78 มาตรา

D.
หมวด 87 มาตรา

5) 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ฉ.ยกเลิก ฉบับเดิมกี่มาตรา

A.
11

B.
12

C.
13

D.
14




6) 
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 คือใคร

A.
นายชวน หลีกภัย

B.
พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร

C.
รมต.ศธ.

D.
ผู้ที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย

7) 

พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวดใด ว่าด้วย บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุรภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย

A.
หมวด 1

B.
หมวด 2

C.
หมวด 3

D.
หมวด 4

8) 
ข้อใด ไม่ใช่ ระบบการจัดการศึกษาตามมาตรา 15

A.
การศึกษาในระบบ

B.
การศึกษานอกระบบ

C.
การศึกษาตามอัธยมศัย

D.
การศึกษาตลอดชีวิต

9) 
การศึกษาในระบบมีกี่ระดับ

A.
2

B.
3

C.
4

D.
ตามความเหมาะสมและศักยภาพ

10) 
เด็กในข้อใดต้องเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ

A.
เด็กที่มีอายุย่างเข้าปีที่ 7 - เด็กที่มีอายุย่างเข้าปีที่ 14

B.
เด็กที่มีอายุย่างเข้าปีที่ 7 - เด็กที่มีอายุย่างเข้าปีที่ 16

C.
เด็กที่มีอายุย่างเข้าปีที่ 8 - เด็กที่มีอายุย่างเข้าปีที่ 14

D.
เด็กที่มีอายุย่างเข้าปีที่ 8 - เด็กที่มีอายุย่างเข้าปีที่ 16



11) 
ข้อใด ไม่ใช่ สถานศึกษาตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542

A.
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

B.
โรงเรียน

C.
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

D.
วิทยาลัย

12) 


ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง เพื่อใช้เป็นหลักเทียบเคียงในการส่งเสริมกำกับ ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพทางการศึกษา คือความหมายของข้อใด

A.
ตัวบ่งชี้

B.
คุณภาพการศึกษา

C.
มาตรฐานการศึกษา

D.
เกณฑ์คุณภาพประเมินภายใน

13) 
มาตราใดสำคัญที่สุดใน พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542

A.
21

B.
22

C.
26

D.
27

14) 
ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถและพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนสำคัญที่สุด อยู่ในมาตราใด

A.
21

B.
22

C.
23

D.
24

15) 
ข้อใด ไม่เกี่ยวข้อง ในการประเมินผู้เรียนตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ

A.
ประเมินจากพัฒนาการของผู้เรียน

B.
ประเมินความประพฤติ

C.
การสังเกตพฤติกรรมการเรียน

D.
เวลาการร่วมกิจกรรมและการทดสอบ


16) 
ลักษณะของหลักสูตรการศึกษาในระดับต่าง ๆ ต้องมีลักษณะอย่างไร

A.
จัดตามความพร้อมและความต้องการ

B.
จัดตามจุดมุ่งหมายของแต่ละระดับเป็นสำคัญ

C.
หลากหลาย

D.
บูรณาการ

17) 
ข้อใด ไม่ใช่ คณะบุคคลในรูปของสภา ตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542

A.
สภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่งชาติ

B.
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

C.
คณะกรรมการการอุดมศึกษา

D.
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา

18) 
การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษาที่ต่ำกว่าปริญญาให้ยึดอะไร

A.
ปริมาณสถานศึกษา

B.
จำนวนประชากร

C.
เขตพื้นที่การศึกษา

D.
ความเหมาะสมด้านอื่น

19) 
ข้อใด ไม่ใช่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

A.
ผู้แทนครู

B.
ผู้แทนผู้ปกครอง

C.
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

D.
ผู้แทนผู้ทรงคุณวุฒิ

20) 
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิในการจัดการศึกษาในระดับใด

A.
ในระบบ

B.
นอกระบบ

C.
ตามอัธยาศัย

D.
ระดับหนึ่งหรือทุกระดับก็ได้




21) 
ผู้ใด ไม่ใช่ คณะกรรมการบริหารสถานศึกษาเอกชน

A.
ผู้บริหารสถานศึกษา

B.
ผู้รับใบอนุญาต

C.
ผู้แทนครู

D.
ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

22) 
หมวดใด พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ว่าด้วยเรื่องมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา

A.
4

B.
5

C.
6

D.
7

23) 
สมศ.ย่อมาจากอะไร

A.
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา

B.
สำนักงานรับรองคุณภาพมาตรฐานและประเมินคุณภาพสถานศึกษา

C.
สำนักงานรับรองมาตรฐาน คุณภาพ ประเมินคุณภาพการศึกษา

D.
สำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพสถานการศึกษา

24) 
มาตราใดของ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ทำให้เกิดสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา

A.
53

B.
54

C.
55

D.
56

25) 
หมวดใดว่าด้วยเรื่องทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา

A.
6

B.
7

C.
8

D.
9

26) 
หมวดใดว่าด้วยเรื่องเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

A.
6

B.
7

C.
8

D.
9

27) 

หมวดใดของ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ทำให้เกิด พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546

A.
3

B.
5

C.
7

D.
9

28) 
ผู้มีอำนาจออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพื่อเป็นไปตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ คือใคร

A.
นายกรัฐมนตรี

B.
รัฐมนตรี

C.
ปลัดกระทรวง

D.
เลขาธิการ


29) 
ข้อใดคือความหมายของคำว่าครู

A.
บุคลากรที่ทำหน้าที่ด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ ในสถานศึกษาของรัฐและเอกชน

B.
บุคลากรที่ทำหน้าที่ด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ ในสถานศึกษาของรัฐและเอกชน

C.
บุคลากรวิชาชีพที่ทำหน้าที่ด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ ในสถานศึกษาของรัฐและเอกชน

D.
บุคลากรวิชาชีพที่ทำหน้าที่ด้านการเรียนการสอน การวิจัยและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ ในสถานศึกษาของรัฐและเอกชน

30) 
ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ได้กำหนดให้มีฐานะเป็นนิติบุคคล

A.
สพฐ

B.
สพท

C.
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

D.
สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา

ชุดที่ 2
1. การจัดการเรียนการสอนต้องมีคุณภาพหมายถึงข้อใด
ก. มีกิจกรรมเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ข. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนสูง
ค. มีการนำหลักสูตรไปใช้
ง. มีการใช้สื่อประกอบการสอน
2. การวัดและการประเมินผลมีวัตถุประสงค์ตามข้อใด
ก. การปรับปรุงการเรียนการสอน
ข. ตัดสินผลการเรียนการสอน
ค. ตรวจสอบพัฒนาการตามจุดประสงค์
ง. ปรับปรุงการเรียนการสอนและตัดสินผลการเรียน
33. สิ่งใดที่ครูผู้สอนควรยึดเป็นหลักสำคัญที่สุดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ก. หลักสูตร
ข. แผนการสอน
ค. จุดประสงค์การเรียนรู้
ง. สื่อการเรียนการสอน
4. ท่านคิดว่าทำไมต้องมีการประกันคุณภาพการศึกษา
ก. เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายการศึกษาแห่งชาติ
ข. เพื่อให้ทุกโรงเรียนมีความคล้ายคลึงกันด้านการศึกษา
ค. เพื่อเตรียมรับการประเมินภายนอก
ง. เพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
5. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องตามแนวทางปฏิรูปการเรียนรู้
ก. การจัดการเรียนรู้ต้องยึดผู้เรียนเป็นที่ตั้ง
ข. การเรียนรู้เกิดขึ้นได้กับทุกคน ทุกที่ ทุกเวลา
ค. การจัดการเรียนรู้ถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
ง. ครูผู้สอนสำคัญที่สุด
6. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของการเรียนรู้ของนักเรียนตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้
ก. การเรียนรู้เน้นเด็กเป็นศูนย์กลาง
ข. การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
ค. การเรียนรู้ร่วมกับบุคคลอื่น
ง. การเรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
7. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนด เริ่มใช้ในโรงเรียนนำร่องการใช้หลักสูตรตั้งแต่ปีการศึกษาใดเป็นต้นไป
ก. 2545
ข. 2546
ค. 2547
ง. 2548
8. จัดให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กข้อความดังกล่าวเกี่ยวข้องกับหลักสูตรในข้อใด
ก. หลักการ
ข. จุดมุ่งหมาย
ค. เนื้อหาสาระ
ง. แนวทางการจัดการเรียนรู้
9. กระบวนการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเน้นเรื่องใด
ก. วัดความสามารถในการใช้ภาษา
ข. วัดพัฒนาการทางภาษาของผู้เรียน
ค. มีข้อทดสอบมาตรฐานวัดความสามารถในการใช้ภาษา
ง. ถูกทุกข้อ
10. " สามารถวิเคราะห์ปัญหาของชุมชน" เป็นลักษณะของผู้เรียน ตามข้อใด
ก. พัฒนาคน
ข. พัฒนาอาชีพ
ค. พัฒนาสังคม
ง. พัฒนาทั้ง ด้าน
11. ข้อใดไม่ใช่หลักการศึกษาด้านผู้เรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
ก. ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
ข. ถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
ค. กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเอง ตามธรรมชาติและตามศักยภาพ
ง. จัดแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายไว้สำหรับผู้เรียน
12. ข้อใดไม่ใช่เอกสารหลักสูตร 
ก. คู่มือครู 
ข. แผนการสอน
ค. หนังสือเรียนประวัติศาสตร์ไทย 
ง. แผนปฏิบัติงานวิชาการ
13. นักเรียนมีโอกาสกำหนดผลการเรียนรู้ร่วมและวางแผนประเมินผลการเรียนรู้" เป็นลักษณะของการเรียนรู้ตามข้อใด
ก. การเรียนรู้ที่สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
ข. การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
ค. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
ง. การเรียนรู้แบบองค์รวม
14. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของสื่อการสอน
ก. วัสดุ
ข. อุปกรณ์
ค. วิธีการ
ง. นวัตกรรม
15. ข้อใดสื่อประเภทวัสดุ หรือซอฟต์แวร์
ก. เครื่องฉายสไลด์
ข. เครื่องวีดีโอ
ค. เทปบันทึกเสียง
ง. ไม่มีข้อถูก
16. เป็นแหล่งรวบรวมผลงานหรือหลักฐานที่เกิดจากการเรียนรู้ของผู้เรียนหมายถึงข้อใด
ก. การสำรวจเด็กรายบุคคล
ข. การเรียนรู้บูรณาการ
ค. โครงสร้าง
ง. แฟ้มสะสมงาน
17. การเลือกสื่อการเรียนการสอนตามหลักการแล้วข้อใดสำคัญที่สุด
ก. ประสิทธิภาพ
ข. ประสิทธิผล
ค. ประหยัด
ง. คุ้มค่า
18. ข้อใดไม่ใช่หลักการสำคัญของการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. การมีส่วนร่วม
ข. การกระจายอำนาจ
ค. การกำกับติดตามประเมินผล
ง. การยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
19. เพื่อให้การจัดการศึกษาของสถานศึกษามีคุณภาพมาตรฐาน ท่านคิดว่าควรจะมีการประเมินผล 
การจัดการศึกษาระดับใดบ้าง
ก.ระดับสถานศึกษา ข.ระดับเขตพื้นที่ฯ
ค. ระดับชาติ ง. ถูกทุกข้อ
20. กำหนดสาระการเรียนรู้เป็นรายภาคและกำหนดจำนวนหน่วยกิตให้เหมาะสมและสอดคล้องกับมาตรฐานและสาระการเรียนรู้
ก. ช่วงชั้นที่ 1 
ข. ช่วงชั้นที่ 2
ค. ช่วงชั้นที่ 3 
ง. ช่วงชั้นที่ 4
21. ไม่มีในคำอธิบายในรายวิชาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. ชื่อรายวิชา 
ข. จำนวนเวลา หน่วยกิต
ค. สื่อการเรียนรู้ 
ง. มาตรฐานการเรียนรู้
22. สถานศึกษาต้องคำนึงถึงเรื่องใดในการจัดนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ก. วัย 
ข. วุฒิภาวะ
ค. ความแตกต่างบุคล
ง. ถูกทุกข้อ
23. ใครเป็นผู้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
ก. ผู้บริหารสถานศึกษา
ข. ผู้ปกครอง ชุมชน
ค. คณะกรรมการสถานศึกษา
ง. ทุกฝ่ายร่วมกัน
24. ใครเป็นผู้ออกแบบการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. ผู้บริหารโรงเรียน
ข. ครูผู้สอน
ค. สถานศึกษา 
ง. กรมวิชาการ
25. ข้อใดคือความหมายของหลักสูตรสถานศึกษาที่ถูกต้อง
ก. หลักสูตรของตนเอง
ข. หลักสูตรท้องถิ่น
ค. การเรียนรู้และประสบการณ์
ง. สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
26. ผลลัพธ์ที่อันเป็นจุดมุ่งหมายของหลักสูตรสถานศึกษา
ก. พัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินในการเรียนรู้
ข. ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนด้านจิตวิญญาณ จริยธรรม สังคมและวัฒนธรรม
ค. สร้างผู้เรียนให้พร้อมเป็นผู้บริโภคตัดสินใจแบบมี ข้อมูลและเป็นอิสระ
ง. ถูกทุกข้อ
27. ข้อใดไม่ใช่การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. การวัดและประเมินผลผู้เรียน
ข. การวัดและประเมินผลระดับชั้นเรียน
ค. การวัดและประเมินผลระดับสถานศึกษา
ง. การประเมินผลคุณภาพระดับชาติ
28. จบการศึกษาขั้นพื้นฐานหมายถึงจบการศึกษาชั้นใด
ก. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ข. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ค. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ง. ข้อ ข และ ข้อ ค ถูก
29.ผู้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช2544
ก. อธิบดีกรมวิชาการ
ข. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ง. นายกรัฐมนตรี
30. โรงเรียนโดยทั่วไปเริ่มใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานในปีการศึกษาใด
ก. 2545
ข. 2546
ค. 2547
ง. 2548

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น